การใช้งานโปรแกรม JOURNEY TO THE PLANETS
โปรแกรม JOURNEY TO THE PLANETS
วิธีการติดตั้ง
1. เปิดไดรฟ์ CD ขึ้นมา
2. ดับเบิ้ลคลิ๊กที่ไฟล์ INSTALL.EXE
3. กำหนดที่อยู่ของไฟล์ที่จะติดตั้ง ในทีนี้จะใช้ C:\PLANETS
4. กดปุ่ม OK แล้วรอสักพัก
5 .กำหนดที่อยู่ของข้อมูลที่จะให้โปรแกรมอ่านข้อมูลให้เป็นไดร์ฟ CD ที่เราใช้สำหรับ
อ่านโปรแกรม ในที่นี้ใช้ไดร์ฟ I
6. รอสักครู่ โปรแกรมกำลังทำการติดตั้ง
7. จะมีคำถามว่าให้เรารีสตาร์ทเครื่องคอมพิวเตอร์หรือไม่หลังจากที่เราติดตั้งโปรแกรม
เสร็จแล้ว กด Yes เพื่อรีสตาร์ท หรือกด No ถ้าไม่ต้องการรีสตาร์ทเครื่อง
8. การติดตั้งโปรแกรมเสร็จสมบูรณ์แล้วครับ
การใช้งานโปรแกรม JOURNEY TO THE PLANETS
1.ดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน JOURNEY TO THE PLANETS หน้าเดสทอป หรือจะเข้าโปรแกรมอีกทางคือ START ---->Programe-----> JOURNEY TO THE PLANETS
2.จะพบกับหน้าต่างแรกของโปรแกรม มีอยู่ 3 ส่วนคือ
1.OPTIONS เป็นการตั้งค่าต่างของโปรแกรม หรือรายละเอียดอื่นเกี่ยวกับโปรแกรม
2.GLOSSARY ส่วนนี้จะเป็นเหมือนกับสารณุกรมของโปรแกรมที่จะใช้ค้นหาเรียงตามอันดับตัวอักษร
3.และส่วนที่สำคัญทีสุดของโปรแกรมนี้ก็คือ ในส่วนของเนื้อหาของโปรแกรม ซึ่งส่วนนี้จะเป็นไอคอนของรูปดวงดาวต่าง ๆที่เราต้องการจะศึกษาข้อมูล โดยอยู่ในระบบสุริยะ ซึ่งจะประกอบไปด้วย Sun Mercury Venus Earth Mars Jupiter Saturn Uranus Neptune Pluto
4. เมื่อเราคลิ๊กเข้าไปในดวงดาวต่าง ๆที่เราศึกษา เช่นในที่นี้ผมจะเข้าไปใน Sun เพื่อเป็นตัวอย่างการใช้โปรแกรม
5. เมื่อเราเข้ามาใน Sun แล้วจะประกอบด้วยส่วนประกอบ 2 ส่วนคือ DATA และ Exploration
6. ในหัวข้อนี้เราจะเข้าไปในส่วนของ DATA กันก่อนเพื่อศึกษาข้อมูลต่าง ๆ ของดวงอาทิตย์
7.เมื่อเข้าไปแล้วก็จะพบกับหัวข้อต่างมากมาย อาทิเช่น STRUCTURE, SOLAR FEATURES,SOLAR WINDS,SUN AND EARTH โดยในหัวข้อเหล่านี้จะประกอบไปด้วยข้อมูลต่างเกี่ยวกับดวงอาทิตย์ ที่เราต้องการจะศึกษา
8.เมื่อเราได้ดูข้อมูลต่างเสร็จเรียบร้อยแล้วเราสามารถที่ย้อนกลับมายังเมนูก่อนหน้าโดยการกดปุ่ม ลูกศรกลับ และสามารถกลับไปยังไอคอนตรงกลางด้านล่างเพื่อกลับไปยังเมนูหลัก
9.เราลองออกมายังเมนูหลักแล้วเราก็เข้าสู่ EARTH เพื่อที่จะศึกษาข้อมูลของโลกที่เราอาศัยอยู่
10. โดยหน้านี้จะมีอยู่ด้วยกัน 3 หน้าต่าง คือ DATA ,PLANETARY ,MOON คลิ๊กเข้าไปตามไอคอนต่างๆ ที่เราสนใจ]
11. เมื่อเราคลิ๊กเข้ามาก็จะมีเสียงบรรยายเป็นภาษาอังกฤษเพื่อให้เราเข้าใจได้อีกด้วย
12.หากเราต้องการที่จะศึกษาวิดีโอของโลกเราก็สามารถเข้าไปดูได้ที่ในหน้าต่างของ PLANETARY TOUR เพื่อการดูภาพและเสียง
13.ถ้าเราต้องกลับไปศึกษาดวงดาวอื่น ๆ ก็แค่คลิ๊กที่ ไอคอนรูประบบสุริยะที่อยู่ด้านขวามือ โปรแกรมก็จะกลับสู่หน้าหลักแล้วครับ
14.ขอให้สนุกกับการใช้โปรแกรมนะครับ
ประโยชน์ที่ได้รับจากโปรแกรม
1.ทำให้เราทราบถึงข้อมูลของดวงดาวต่าง ๆ ในระบบสุริยะ
2 เป็นการฝึกอ่านภาษาอังกฤษ เพราะในโปรแกรมนี้ภาษาที่ใช้จะใช้ภาษาอังกฤษ
3 เป็นการฝึกการฟัง การพูดภาษาอังกฤษ เพราะในโปรแกรมบางตอนเราจะได้ยินเสียง
ซาวน์แทร็ก เป็นภาษาอังกฤษ
4.เป็นการผึกการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการหันมาทำกิจกรรมที่มีสาระอย่างโปรแกรม JOURNEY TO THE PLANETS
วันพุธที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2551
คำศัพท์วันละคำ2สัปดาห์
1.Browser หมายถึง โปรแกรมที่ทำให้ผู้ใช้สามารถเข้าไปใช้งานในเซิร์ฟเวอร์ ที่ให้บริการ เช่น ติดต่อเชื่อมโยงและค้นหาฐานข้อมูลของข่าวสารในระบบ www ของอินเตอร์เน็ต เช่น Netscape, Mosaic และ Internet Explorer เป็นต้น
2.Digital Signature หมายถึง ลายเซ็นใช้ยืนยันว่าเอกสารนั้นถูกต้อง ไม่มีการดัดแปลงแก้ไขโดยบุคคลภายนอก เป็นวิธีเพิ่มความปลอดภัยนอกเหนือจากการเข้ารหัส และตรวจสอบความถูกต้องให้กับจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เอกสารลับ บัตรเครดิต และเงินแบบดิจิตอล สำหรับในประเทศไทย ขณะนี้ยังอยู่ในขั้นตอนเสนอให้มีกฎหมายรับรองการใช้ลายเซ็นดิจิตอล
3.Cyber shopping หมายถึง การเลือกซื้อสินค้าชนิดต่างๆ ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยที่ไม่ต้องเดินทางไปที่ร้านค้า และจ่ายเงินสด แต่ผู้ซื้อสามารถจ่ายเงินดิจิตอล (Digital cash) แทน
4.Hacker หมายถึง ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่พยายามหาทางเข้าไปในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการรักษาความปลอดภัย ทั้งนี้อาจเพื่อแสดงว่ามีความสามารถสูง หรือเพื่อความต้องการที่ผิดกฎหมาย
5.ไวรัส (Virus) หมายถึง โปรแกรมที่พวกแครกเกอร์ (Cracker) เขียนให้เพื่อให้โปรแกรมอื่นติด และแพร่เชื้อเหมือนเชื้อโรค เมื่อมีการติดไวรัสบางตัวอาจไม่มีการทำอะไรมาก นอกจากเขียนโปรแกรมแปลกๆ ที่หน้าจอ แต่ส่วนใหญ่ไวรัสเหล่านี้จะทำความเสียหาย เช่น ลบไฟล์ของผู้ใช้ ทำงานช้าลงเรื่อยๆ โปรแกรมสำเร็จรูปต่างๆไม่ทำงาน และทำความเสียหายต่อ ฮาร์ดดิสก์เป็นต้น
6.Cracker หมายถึง ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่พยายามหาทางเข้าไปในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการรักษาความปลอดภัย เพื่อทำลาย ขโมยข้อมูล หรือเพื่อความต้องการที่ผิดกฎหมาย
7.BIOS ย่อมาจาก Basic Input System หมายถึง การสื่อสารระหว่างฮาร์ดแวร์ต่างๆ กับระบบปฏิบัติการ ซึ่งค่าต่างๆ ของฮาร์ดแวร์แต่ละตัวจะถูกเก็บไว้ ณ ที่นี้ การอัพเดท (up date)ข้อมูลในไบออสสามารถทำได้หากในอนาคตมีฟีเวอร์ใหม่ๆ เพิ่มเติมเข้ามา
8.HTML หรือ Hypertext Markup Language หมายถึง ภาษาที่เขียนและกำหนดรูปแบบของเวบเพจ หรือเอกสารต่างๆบนเวิล์ดไวด์เวบ
9.E-Business หมายถึง การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต และเทคโนโลยีดิจิตอลอื่นๆ เพื่อติดต่อสื่อสาร ทำงานร่วมกัน และการจัดการต่างๆ ในองค์กร (โดยระบบอินเตอร์เน็ตที่ใช้เฉพาะในองค์กรเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Intranet เช่นผู้จัดการสามารถส่งอี-เมล์, เอกสารบนเวบ รวมทั้งการใช้ซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวกับเวิร์คกรุ๊ป (Work-group) ต่างๆ ซึ่งมีประสิทธิภาพในการติดต่อสื่อสารกับพนักงานนับพันหรือแม้แต่จัดการกับงานต่างๆ ซึ่งไม่สามารถพบปะเจอะเจอกันได้โดยตรง
10.Band Width หมายถึง ขีดความสามารถในการสื่อสารข้อมูลข่าวสารของเครือข่ายเคเบิ้ล ไฟเบอร์ออพติกหรือสายลวดทองแดง คิดเป็นกี่บิต ( bits ) ต่อวินาทีแบนด์ วิธ (band width) ที่มีขีดความสามารถสูง หมายถึงจะบริการผู้ใช้ได้จำนวนมากขึ้น และผู้ใช้สามารถที่จะสื่อและรับข้อมูลข่าวสารได้ในปริมาณมาก
11.Application (แอพพลิเคชั่น) = ระบบงานประยุกต์
12.Dial-Up (ไดอัล-อัพ) การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบหมุนโทรศัพท์ผ่านโมเด็ม
13.Network (เน็ตเวิร์ก) = ระบบเครือข่าย
14. Operating System (โอเอส) = ระบบปฏิบัติการ
2.Digital Signature หมายถึง ลายเซ็นใช้ยืนยันว่าเอกสารนั้นถูกต้อง ไม่มีการดัดแปลงแก้ไขโดยบุคคลภายนอก เป็นวิธีเพิ่มความปลอดภัยนอกเหนือจากการเข้ารหัส และตรวจสอบความถูกต้องให้กับจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เอกสารลับ บัตรเครดิต และเงินแบบดิจิตอล สำหรับในประเทศไทย ขณะนี้ยังอยู่ในขั้นตอนเสนอให้มีกฎหมายรับรองการใช้ลายเซ็นดิจิตอล
3.Cyber shopping หมายถึง การเลือกซื้อสินค้าชนิดต่างๆ ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยที่ไม่ต้องเดินทางไปที่ร้านค้า และจ่ายเงินสด แต่ผู้ซื้อสามารถจ่ายเงินดิจิตอล (Digital cash) แทน
4.Hacker หมายถึง ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่พยายามหาทางเข้าไปในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการรักษาความปลอดภัย ทั้งนี้อาจเพื่อแสดงว่ามีความสามารถสูง หรือเพื่อความต้องการที่ผิดกฎหมาย
5.ไวรัส (Virus) หมายถึง โปรแกรมที่พวกแครกเกอร์ (Cracker) เขียนให้เพื่อให้โปรแกรมอื่นติด และแพร่เชื้อเหมือนเชื้อโรค เมื่อมีการติดไวรัสบางตัวอาจไม่มีการทำอะไรมาก นอกจากเขียนโปรแกรมแปลกๆ ที่หน้าจอ แต่ส่วนใหญ่ไวรัสเหล่านี้จะทำความเสียหาย เช่น ลบไฟล์ของผู้ใช้ ทำงานช้าลงเรื่อยๆ โปรแกรมสำเร็จรูปต่างๆไม่ทำงาน และทำความเสียหายต่อ ฮาร์ดดิสก์เป็นต้น
6.Cracker หมายถึง ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่พยายามหาทางเข้าไปในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการรักษาความปลอดภัย เพื่อทำลาย ขโมยข้อมูล หรือเพื่อความต้องการที่ผิดกฎหมาย
7.BIOS ย่อมาจาก Basic Input System หมายถึง การสื่อสารระหว่างฮาร์ดแวร์ต่างๆ กับระบบปฏิบัติการ ซึ่งค่าต่างๆ ของฮาร์ดแวร์แต่ละตัวจะถูกเก็บไว้ ณ ที่นี้ การอัพเดท (up date)ข้อมูลในไบออสสามารถทำได้หากในอนาคตมีฟีเวอร์ใหม่ๆ เพิ่มเติมเข้ามา
8.HTML หรือ Hypertext Markup Language หมายถึง ภาษาที่เขียนและกำหนดรูปแบบของเวบเพจ หรือเอกสารต่างๆบนเวิล์ดไวด์เวบ
9.E-Business หมายถึง การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต และเทคโนโลยีดิจิตอลอื่นๆ เพื่อติดต่อสื่อสาร ทำงานร่วมกัน และการจัดการต่างๆ ในองค์กร (โดยระบบอินเตอร์เน็ตที่ใช้เฉพาะในองค์กรเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Intranet เช่นผู้จัดการสามารถส่งอี-เมล์, เอกสารบนเวบ รวมทั้งการใช้ซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวกับเวิร์คกรุ๊ป (Work-group) ต่างๆ ซึ่งมีประสิทธิภาพในการติดต่อสื่อสารกับพนักงานนับพันหรือแม้แต่จัดการกับงานต่างๆ ซึ่งไม่สามารถพบปะเจอะเจอกันได้โดยตรง
10.Band Width หมายถึง ขีดความสามารถในการสื่อสารข้อมูลข่าวสารของเครือข่ายเคเบิ้ล ไฟเบอร์ออพติกหรือสายลวดทองแดง คิดเป็นกี่บิต ( bits ) ต่อวินาทีแบนด์ วิธ (band width) ที่มีขีดความสามารถสูง หมายถึงจะบริการผู้ใช้ได้จำนวนมากขึ้น และผู้ใช้สามารถที่จะสื่อและรับข้อมูลข่าวสารได้ในปริมาณมาก
11.Application (แอพพลิเคชั่น) = ระบบงานประยุกต์
12.Dial-Up (ไดอัล-อัพ) การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบหมุนโทรศัพท์ผ่านโมเด็ม
13.Network (เน็ตเวิร์ก) = ระบบเครือข่าย
14. Operating System (โอเอส) = ระบบปฏิบัติการ
วันพฤหัสบดีที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2551
ประโยคอังกฤษ
The determined man finds the way, the other finds an excuse or alibi.
ผู้ที่แน่วแน่และมุ่งมั่นจะหาหนทางแก้ปัญหา ในขณะที่คนอื่นจะหาหนทางแก้ตัว
วันอังคารที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2551
คำศัพท์ไอที a-z
A
algorithm
algorithm หมายถึง ขั้นตอนและสูตรคำนวณในการแก้ปัญหา คำนี้มีรากคำจากชื่อ Al-Khowarizmi (825 ก่อนคริสตกาล) ซึ่งเป็นนักคณิตศาสตร์ชาวเปอร์เซีย และโปรแกรม คอมพิวเตอร์ สามารถมองได้ว่าเป็นการวางอัลกอริทึม ในส่วนคณิตศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ อัลกอริทึม หมายถึงขั้นตอนเล็กๆในการแก้ปัญหา
B
Backup
Backup (การสำรองข้อมูล) เป็นกิจกรรมคัดลอกไฟล์และฐานข้อมูล ดังนั้นพวกเขาจะป้องกันในกรณีของอุปกรณ์ล้มเหลวหรือภัยอื่น โดยทั่วไป การสำรองข้อมูลเป็นงานปกติของปฏิบัติการของข้อมูลขนาดใหญ่กับเครื่องเมนเฟรมและผู้บริหารระบบของคอมพิวเตอร์ธุรกิจขนาดเล็ก สำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล การสำรองข้อมูลมีความจำเป็นเช่นกัน แต่มักถูกละเลย การดึงไฟล์ที่การสำรองไว้ เรียกว่าการฟื้นฟู (restore)
C
chipse
chipset เป็นชุดหรือกลุ่มของไมโครชิป ที่ได้รับการออกแบบให้ทำงานเป็นหน่วย ในการทำงานฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกัน chipset ที่เป็นตัวอย่างได้แก่ Intel 430HX PCI set สำหรับไมโครโพรเซสเซอร์รุ่น Pentium II ในตัว Chipset ได้ให้ตัวควบคุมบัส PCI และออกแบบสำหรับคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ เพื่อการหาค่าเหมาะสม ของการส่งผ่านทรานแซคชัน (transaction) ระหว่างไมโครโพรเซสเซอร์, PCI และ ISA ให้เร็วขึ้น ทำให้ระบบมัลติมีเดียมีการทำงานที่ราบเรียบ รวมถึงการย้อนกลับ และการประยุกต์ นอกจากนี้ chipset สามารถสนับสนุน Universal Serial Bus (USB)
D
digital
digital (ดิจิตอล) การเป็นการอธิบายเทคโนโลยีอีเล็คโทรนิคส์ที่ใช้สร้าง เก็บ และประมวลข้อมูลในลักษณะ 2 สถานะ คือ บวก (positive) และไม่บวก (non-positive) บวก (positive) แสดงด้วย เลข 1 และไม่บวก (non-positive) แสดงด้วย เลข 0 ดังนั้น ข้อมูลส่งผ่าน หรือเก็บด้วยเทคโนโลยีดิจิตอล เป็นการแสดงด้วยข้อความของ 0 และ 1 แต่ละค่าของตำแหน่งสถานะเหล่านี้ เป็นการอ้างแบบ binary digitalก่อนหน้าเทคโนโลยีดิจิตอล การส่งผ่านอีเล็คโทรนิคส์ถูกจำกัดด้วยเทคโนโลยีอะนาล๊อก ซึ่งนำส่งข้อมูลเป็นสัญญาณอีเลคโทรนิคส์ โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงของความถี่ หรือความสูงซึ่งเพิ่มเข้าสู่คลื่นตัวนำที่ให้ความถี่ การส่งผ่านการกระจาย และโทรศัพท์แบบดั้งเดิม ใช้เทคโนโลยีอะนาล็อค เทคโนโลยีดิจิตอล ได้รับการใช้ในตัวกลางการสื่อสารทางกายภาค เช่นการส่งผ่านด้วยดาวเทียม และไฟเบอร์อ๊อปติค โมเด็มใช้ในการแปลงสัญญาณโทรศัพท์ ให้เป็นสารสนเทศดิจิตอล สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์
E
e - mail
e - mail เป็นการแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผ่านระบบโทรคมนาคม ข่าวสารหรือข้อความของ e- mail จะเป็นไฟล์ประเภทข้อความ อย่างไรก็ตามสามารถส่งไฟล์ประเภทอื่น เช่น ไฟล์ประเภทภาพหรือเสียง เป็นไฟล์ที่แนบไปในรหัสแบบ binary โดย e- mail เป็นสิ่งแรกที่ใช้อย่างกว้างขวางในอินเตอร์เน็ต และเป็นสัดส่วนใหญ่ในการใช้ traffic บนอินเตอร์เน็ต e- mail สามารถแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ใช้ของ online service provider กับระบบเครือข่ายอื่น นอกจากนี้ ภายในอินเตอร์เน็ต e- mail เป็นโปรโตคอลแบบหนึ่งที่รวมอยู่ใน Transport Control Protocol/Internet Protocol (TCP/IP) โปรโตคอลที่นิยมสำหรับการส่ง e- mail คือ Simple Mail Transfer Protocol (SMTP) และโปรโตคอล ที่นิยมในการรับ e- mail คือ POP3 ทั้ง Netscape และ Microsoft ได้รวม e- mail และส่วนประกอบการทำงานใน web browser
F
file
1. ในการประมวลผลข้อมูล เมื่อใช้ความหมายเชิงอุปมา file (ไฟล์) เป็นกลุ่มของเรคคอร์ดที่สัมพันธ์กัน เช่น การเก็บเรคคอร์ดของลูกค้าในไฟล์ ในทางกลับกัน แต่ละเรคคอร์ดจะต้องประกอบด้วยฟิลด์ สำหรับข้อมูลแต่ละชิ้น เช่น ชื่อลูกค้า หมายเลขลูกค้า ที่อยู่ลูกค้า และอื่น ๆ โดยการแบ่งสารสนเทศในฟิลด์เดียวกันในแต่ละเรคคอร์ด (ทำให้เรคคอร์ดทั้งหมดตรงกัน) ไฟล์นี้จะสะดวกในการนำไปวิเคราะห์ หรือควบคุมด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การใช้งานแบบนี้มีความสำคัญน้อยลง จากการเข้ามาถึง database และการใช้ table เป็นวิธีการรวบรวมเรคคอร์ดและฟิลด์ข้อมูล ในระบบเมนเฟรม เป็นความหมายของ data set ในความหมายเดียวกับไฟล์ แต่มีนัยยะหมายถึง รูปแบบพิเศษของการจัดโครงสร้างที่ตระหนักกึงวิธีการเข้า (access method) แบบเฉพาะการจัดเก็บไฟล์ (หรือ data set ) ขึ้นกับระบบปฏิบัติการโดยการเก็บใน catalogs, directories หรือ folders
2. ในระบบคอมพิวเตอร์ทั่วไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ไฟล์เป็นที่เก็บข้อมูลในระบบของผู้ใช้ (รวมตัวระบบเองและโปรแกรมประยุกต์ ) ที่สามารถควบคุม ( เช่น ย้ายจากไดเรคทอรีหนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง) ไฟล์จะต้องมีชื่อที่เป็นเอกลักษณ์ ภายในไดเรคทอรีของตัวเอง บางระบบปฏิบัติการและโปรแกรมประยุกต์ ให้คำจำกัดความไฟล์ว่า เป็นการกำหนดรูปแบบด้วยการกำหนดนามสุกลไฟล์เฉพาะ (หรือเรียกว่า file extension ) เช่น โปรแกรม หรือexecutable file บางครั้งได้รับหรือต้องการชื่อนามสกุลเป็น "exe" โดยทั่วไปนามสกุลไฟล์ เป็นการอธิบายถึงรูปแบบตามที่สามารถกำหนดภายในความจำกัดของตัวอักษรที่ยินยอม สำหรับนามสกุลโดยระบบปฏิบัติการ
G
Ghost
มีที่มาจากคำอังกฤษ เก่า "gast" และมีความหมายวิญญาณหรือผี ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีความหมายเฉพาะ คือ
1. Ghost เป็นสินค้าของ Symantec ใช้การโคลน (Clone) หรือก๊อปปี้ข้อมูลและรายละเอียดในฮาร์ดดิสก์ไปยังฮาร์ดดิสก์ตัวอื่น จะทำการ Format และสร้าง partition ในฮาร์ดดิสก์เป้าหมาย สินค้าตัวนี้เหมาะสมในการใช้งานในการถ่ายเทระบบจากต้นแบบ ไปยังคอมพิวเตอร์จำนวนหลาย ๆ เครื่อง
2. บนเว็บประเภท live chat medium นั้น Internet relay chat เป็น ghost ที่ทำให้เครื่องแม่ข่ายผู้ใช้ถอนตัวจากห้องนั้นยังติดต่อกับเครื่องแม่ข่าย
3. Ghostscript เป็นโปรแกรมของระบบ UNIX ที่แปลไฟล์แบบ Postscript เพื่อนำไปใช้กับโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง
H
home page
1. สำหรับผู้ใช้เว็บ home page คือ เว็บเพจแรกที่ปรากฏหลังจากเริ่มใช้ web browser เช่น Netscape Navigator หรือ Microsoft Internet Explorer ซึ่ง browser มักจะได้รับการตั้งค่าก่อน ดังนั้น home page คือ เพจแรกของผู้ผลิต browser อย่างไรก็ตามผู้ใช้สามรถตั้งค่าการเปิด web site อื่น ๆ ได้ เช่น การระบุเป็น "http://yahoo.com" หรือ "http://www.widebase.net" เป็น home page ของผู้ใช้ และสามารถระบุเป็นหน้าว่างได้ สำหรับกรณีที่เลือกเพจแรกจาก รายการ book mark หรือ ป้อน address ของเว็บ
2. สำหรับผู้พัฒนา web site, home page ซึ่งเป็นเพจแรกที่ปรากฏเมื่อผู้ใช้เลือก site หรือ presence บน world wide web ซึ่ง address ของ web site คือ address ของ home page ถึงแม้ว่าผู้ใช้สามรถป้อน address (URL) ของทุกเพจ และมีการส่งเพจมาให้
I
information
information (สารสนเทศ) มีความหมายในด้านเนื้อหาสำหรับผู้รับ information บางชนิดสามารถแปลงเป็นข้อมูล (data) และส่งต่อไปยังผู้รับอื่น เมื่อสัมพันธ์กับคอมพิวเตอร์ information จะไดรับการสร้างเป็นข้อมูลและเก็บในคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นที่ใช้ในการเก็บและประมวลผลในฐานะข้อมูล และแสดงผลลัพธ์ของข้อมูลในรูปแบบที่มีเป็นฐานะสารสนเทศ หรือ information
j
JavaScript
JavaScript เป็นโปรแกรมประเภทตัวแปรภาษาหรือภาษาแบบ script จาก Netscape มีลักษณะคล้ายกับภาษา Visual Basic Microsoft, Tool command language ของ Sun, Practical Extraction and Reporting Language บน UNIX และ Restructured Extended Executer ของ IBM โดยทั่วไปแล้วภาษา script ง่ายกว่าภาษาแบบคอมไพล์ เช่น C และ C++ นอกจากนี้ภาษา script จะมีขั้นตอนที่ยาวกว่าภายนอกแบบคอมไพล์ แต่ใช้ประโยชน์ได้มากในโปรแกรมสั้น ๆ
JavaScript สามารถใช้ในการพัฒนาเว็บในลักษณะนี้
- เปลี่ยนรูปแบบวันที่ บนเว็บเพจ โดยอัตโนมัติ
- ใช้แสดงเพจเชื่อมใน Popup Windows
- เปลี่ยนข้อความหรือภาพระหว่างที่เมาส์เคลื่อนผ่าน
JavaScript ใช้แนวคิดของ Java โดย JavaScript สามารถวางในเพจที่เขียนด้วย HTML และแปรโดย web browser ได้ JavaScript สามารถเรียกใช้ที่เครื่องแม่ข่ายเหมือน Microsoft Active server page ก่อนที่เพจนั้นจะได้รับการส่งไปยังผู้ใช้ web browser ของ Microsoft และ Netscape สนับสนุน JavaScript แต่บางครั้งมีความแตกต่างกัน
K
keyboard
คอมพิวเตอร์ส่วนมาก keyboard (คีย์บอร์ด) เป็นอุปกรณ์นำเข้าข้อความ (เมาส์ เป็นอุปกรณ์นำเข้า แต่ขาดความสามารถส่งผ่านสารสนเทศข้อความได้ง่าย ) คีย์บอร์ดมีแป้นฟังก์ชั่นมาตรฐาน เช่น Escape, Tab และแป้นเคลื่อนที่ Shift และ Control บางครั้งผู้ผลิตอาจจะปรับปรุงแป้นตามความเหมาะสม
คีย์บอร์ดของคอมพิวเตอร์ ใช้การจัดแป้นแบบกลไกและอีเลคโทรนิคส์ มาตรฐาน การจัดตัวอักษรบนแป้น เรียกว่า Qwerty keyboard มีที่มาจากการจัด 5 แป้นที่ด้านบนซ้ายของ 3 แถว ของแป้นพยัญชนะ การคิดค้นนี้เกิดขึ้นจากเครื่องพิมพ์แบบ
กลไกยุคแรกในช่วงปี 1870 การจัดแป้นพิมพ์อีกแบบ คือ Dvorak system ซึ่งออกแบบให้ง่ายในการเรียน และใช้ Dvorak keyboard ได้รับการออกแบบมีการจัดที่สอดคล้องกัน แต่ Dvorak key board ไม่มีการใช้ที่แพร่หลาย เนื่องจากผลต่อสุขภาพจากใช้คีย์บอร์ด ทำให้มีการพัฒนาคีย์บอร์ดแบบ ergonomic
L
LAN
Local area network (LAN) เป็นกลุ่มของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้สายติดต่อร่วมกัน เพื่อใช้ทรัพยากรของเครื่องแม่ข่ายร่วมกันภายในพื้นที่ขนาดเล็ก โดยปกติเครื่องแม่ข่ายจะเก็บข้อมูล และโปรแกรมประยุกต์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ลูกข่ายสามารถเข้ามาใช้ได้ ขนาดของ LAN อาจจะประกอบผู้ใช้ 2-3 ราย หรือหลายพันราย
เทคโนโลยีหลัก
- Ethernet
- Token ring
- Attached Resource Computer Network
- Fiber Distributed-Data Interface
ตามปกติ ชุดของโปรแกรมประยุกต์สามารถเก็บไว้ในเครื่องแม่ข่าย ผู้ใช้สามารถเข้าเรียกมาใช้ข้อมูล และโปรแกรมโดยทำงานจากเครื่องลูกข่ายได้ ในขณะที่การสั่งพิมพ์และบริการอื่นเป็นการทำงานที่เครื่องแม่ข่าย การใช้ไฟล์ร่วมกับผู้ใช้รายอื่นบนเครื่องแม่ข่าย ต้องมีการกำหนดสิทธิโดยผู้บริหารระบบ
เครื่องแม่ข่ายของ สามารถใช้ Web server ได้ถ้ามีระบบป้องกันข้อมูล และโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ภายในจากการเข้าถึงของบุคคลภายนอก
M
microchip
microchip (ไมโครชิป) บางครั้งเรียก chip เป็นหน่วยของชุดวงจรรวมของคอมพิวเตอร์ที่ได้รับการผลิตจากวัสดุ เช่น ซิลิคอน ที่ขนาดเล็กมาก ไมโครชิป สร้างสำหรับโปรแกรม logic (logic หรือ microprocessor chip) และสำหรับหน่วยความจำคอมพิวเตอร์ (ชิปหน่วยความจำ หรือ RAM) ไมโครชิปมีการสร้างทั้งแบบ logic และหน่วยความจำและสำหรับวัตถุประสงค์เฉพาะ เช่น analog-to-digital conversion, bit - slicing และ gateways
N
network
ในเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบเครือข่ายหมายถึงอนุกรมของจุดหรือ Mode ที่ติดต่อกันโดยเส้นทางการสื่อสาร และระบบเครือข่ายสามารถติดต่อกับเครือข่ายอื่นและมีเครือข่ายย่อย การคอนฟิกโดยทั่วไป หรือ Topology ของเครือข่ายรวมถึง Bus, star, และ Token ring โดยระบบเครือข่ายสามารถจำแนกตามระยะทาง เช่น เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network) เครือข่ายในเมือง (Metropolitan Area Network) และเครือข่ายพื้นที่กว้าง (Wide Area Network) นอกจากระบบเครือข่ายสามารถจากคุณลักษณะตามประเภทของเทคโนโลยีในการส่งข้อมูล (เช่น TCP/IP), โดยประเภทข้อมูลที่ส่ง เช่น เสียง ข้อมูล โดยสิทธิการใช้เครือข่าย (เช่น สาธารณะหรือส่วนตัว) โดยวิธีการติดต่อระบบ, โดยประเภทอุปกรณ์การเชื่อม เช่น Optical Fiber, สาย Coaxial เป็นต้น
O
object
ใน object-oriented programmable (OOP), object เป็นสิ่งที่ต้องการคิดถึงเป็นสิ่งแรก ในการออกแบบโปรแกรม และเป็นหน่วยของรหัสที่มาจากกระบวนการ ในแต่ละอ๊อบเจคที่สร้างใน class ของอ๊อบเจค และ class ได้รับการกำหนด ดังนั้น อ๊อบเจคสามารถแบ่งแบบจำลองและใช้ class definition ใหม่ในชุดคำสั่ง แต่ละอ๊อบเจคเป็น instance ของ class หรือ sub class ด้วยเมธอดของ class หรือ procdure และตัวแปร อ๊อบเจคเป็นสิ่งที่ทำงานในคอมพิวเตอร์
P
partition
ในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล partition เป็นการแบ่งทางตรรกะของฮาร์ดดิสก์ เพื่อทำให้ผู้ใช้สามารถ มีหลายระบบปฏิบัติการ บนฮาร์ดดิสก์เดียวกัน หรือการแบ่งฮาร์ดดิสก์ สำหรับการบริหารไฟล์ ผู้ใช้หลายคนหรือวัตถุประสงค์ partition สร้างได้เมื่อมีการฟอร์แมต (format) ฮาร์ดดิสก์ ตามปกติฮาร์ดดิสก์ 1 partition จะมีชื่อไดร์ฟเป็น "C:"("A:" และ "B:" ตามปกติสำรองสำหรับไดร์ฟดิสเกต) ฮาร์ดดิสก์ 2 partition จะมีชื่อไดร์ฟ เป็น "C:" และ "D:" (ไดร์ฟ CD-ROM ตามปกติจะได้รับการกำหนดเป็นตัวอักษรสุดท้าย ของชุดตัวอักษรที่ใช้เป็นชื่อจากการฟอร์แมตฮาร์ดดิสก์ หรือกรณีมี 2 partition ไดร์ฟ CD-ROM จะมีชื่อไดร์ฟเป็น "E:")
เมื่อมีการบู๊ตระบบปฏิบัติการเข้าไปในคอมพิวเตอร์ ส่วนที่สำคัญมากของกระบวนการ คือ การควบคุม sector แรกของฮาร์ดดิสก์ ซึ่งรวมถึงตาราง partition, ที่กำหนดจำนวน partition บนฮาร์ดดิสก์, ขนาดของแต่ละ partition, ตำแหน่งเริ่มต้นของ partition sector นี้ยังเก็บโปรแกรมที่อ่าน boot sector สำหรับปฏิบัติการและควบคุมส่วนที่เหลือของระบบปฏิบัติการที่สามารถโหลดไปที่หน่วยความจำชั่วคราว
บู๊ตไวรัส สามารถวางสารสนเทศที่ผิดใน sector ของ partition ทำให้ระบบปฏิบัติการ ไม่สามารถโหลดบนฮาร์ดดิสก์ ด้วยเหตุนี้ ควรที่จะสำรองเวอร์ชัน sector ของ partition บนฮาร์ดดิสก์ที่เรียกว่า แผ่นบู๊ต (bootable floppy)
Q
query
ในความหมายทั่วไป Query หมายถึง คำถามมักจะเป็นการใช้ในลักษณะที่เป็นทางการ ที่มาของคำนี้มาจากภาษาละติน "Quaere" ในด้านคอมพิวเตอร์ หมายถึง สิ่งที่ผู้ใช้ป้อนเข้าในเครื่องมือ ค้นหา (Search engine) หรือฐานข้อมูล บางครั้งเรียกว่า Query
Database Query สามารถหมายถึง select query หรือ action query โดย select query หมายถึง คิวรี่ในการดึงข้อมูล ส่วน action query หมายถึง คิวรี่ ที่สามารถทำงานได้เช่น การเพิ่ม การปรับปรุงหรือการลบ
ภาษาที่ใช้ในการติดต่อกับฐานข้อมูลเรียกว่า Query Language รวมถึง Structured Query Language ซึ่งเป็นภาษามาตรฐาน
R
registry
1) ในระบบปฏิบัติของ Microsoft Windows 95, Windows 98 และ Windows NT, Registry เป็นสถานที่เดียวสำหรับเก็บสารสนเทศ เช่น ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อ ตัวเลือกของระบบที่มีการเลือก การตั้งค่าหน่วยความจำ และโปรแกรมประยุกต์ที่จะนำเสนอเมื่อระบบปฏิบัติการเริ่มทำงาน Registry คล้ายและแทนที่ไฟล์ INI และไฟล์คอนฟิก ที่ใช้กับระบบ Windows ก่อนหน้านี้ ซึ่งไฟล์ INI ยังคงได้รับการสนับสนุนในการทำงานโปรแกรมประยุกต์ 16 บิต
โดยทั่วไป ผู้ใช้สามารถปรับปรุง Registry โดยอ้อม โดยใช้เครื่องมือบน Control Panel เช่น TweakU1 ในการติดตั้งหรือยกเลิกการติดตั้งโปรแกรมประยุกต์ ซึ่งยังคงมีการปรับปรุงค่าที่ Registry ในระบบเครือข่าย สารสนเทศของ Registry สามารถเดินบนเครื่องแม่ข่าย เพื่อใช้นโยบายของระบบในการบริหารจากส่วนกลาง
2) Internet Registry เป็นการจัดการเกี่ยวกับระบบชื่อ Domain (domain name system) ซึ่งดูแลโดย Internet Society
S
screen
ในจอภาพของคอมพิวเตอร์ Screen เป็นพื้นผิวทางกายภาพที่ใช้แสดงสารสนเทศที่มองเห็นได้ พื้นผิวนี้มักจะทำด้วยแก้ว ขนาดของจอภาพสามารถวัดที่ด้านทแยงมุม
T
Tag
Tag เป็นคำทั่วไปสำหรับภาษาแบบ element descriptor กลุ่มของ Tag สำหรับเอกสาร หรือหน่วย ของสารสนเทศในบางครั้ง อ้างถึง markup คำสั่งนี้ในยุคก่อนการใช้คอมพิวเตอร์ เมื่อผู้เขียนและผู้ตรวจทาน ทำเครื่องหมายบนเอกสารด้วยสัญลักษณ์ ตัวอย่างเช่น การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Hypertext Markup Language (HTML)
U
unicast
unicast เป็นการสื่อสารระหว่างผู้ส่งรายเดียว กับผู้รับรายเดียวบนเครือข่าย คำนี้แตกต่างจาก multicast ซึ่งเป็นการสื่อสารระหว่างผู้ส่งรายเดียว กับผู้รับหลายราย และ anycast ซึ่งเป็นการสื่อสารระหว่างผู้ส่งหลายราย กับกลุ่มของผู้รับที่ใกล้ที่สุดในเครือข่าย คำก่อนหน้า คือ การสื่อสารแบบ Point-to-Point มีความหมายคล้ายกับ unicast สำหรับ Internet Protocol Version 6 (IPv6) สนับสนุน unicast, anycast และ multicast
V
vanilla
ในเทคโนโลยีที่สารสนเทศ Vanilla มีความหมายว่าง่ายหรือพื้นฐาน ผลิตภัณฑ์ในเวอร์ชันที่ไม่มีส่วนประกอบมักจะเรียกว่า เวอร์ชัน Vanilla เช่น web site บางแห่งที่มีแต่กรอบสามารถเรียกว่า เวอร์ชัน Vanilla
W
Window
Window เป็นพื้นที่การมองที่แยกกันบนจอภาพคอมพิวเตอร์ในระบบ ที่ยอมให้มีพื้นที่การมองหลายพื้นที่ ในฐานที่เป็นส่วนของ graphical user interface (GUI) Windows ได้รับการจัดการโดย window manager ในฐานะที่เป็นส่วนของระบบ Windows
Windows สามารถปรับขนาดได้โดยผู้ใช้ ตัวอย่างเช่น สามารถปรับขอบ ขยายใหญ่ ลดขนาดและปิด ปัจจุบันระบบปฏิบัติการ multitasking ให้ผู้ใช้สามารถมีหลาย Windows บนจอภาพในเวลาเดียวกัน และทำงานเมื่อผู้ใช้เลือก
Windows ใช้ครั้งแรกในฐานะที่เป็นส่วนของ Apple Macintosh ต่อมา Microsoft สร้างความคิดพื้นฐาน ของระบบปฏิบัติการ Windows (ซึ่งเป็น graphical user interface สำหรับคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ DOS) X Window System ได้รับการพัฒนาในฐานะเป็นระบบ Cross-platform Window เปิดสำหรับผู้ใช้เครือข่าย ซึ่งยินยอมให้โปรแกรมลูกข่าย ในคอมพิวเตอร์ ส่งคำขอการบริการ Windowing ในฐานะ เวิร์กสเตชัน
X
XWindow
XWindow เป็นพื้นที่การมองที่แยกกันบนจอภาพคอมพิวเตอร์ในระบบ ที่ยอมให้มีพื้นที่การมองหลายพื้นที่ ในฐานที่เป็นส่วนของ graphical user interface (GUI) Windows ได้รับการจัดการโดย window manager ในฐานะที่เป็นส่วนของระบบ Windows
Windows สามารถปรับขนาดได้โดยผู้ใช้ ตัวอย่างเช่น สามารถปรับขอบ ขยายใหญ่ ลดขนาดและปิด ปัจจุบันระบบปฏิบัติการ multitasking ให้ผู้ใช้สามารถมีหลาย Windows บนจอภาพในเวลาเดียวกัน และทำงานเมื่อผู้ใช้เลือก
Windows ใช้ครั้งแรกในฐานะที่เป็นส่วนของ Apple Macintosh ต่อมา Microsoft สร้างความคิดพื้นฐาน ของระบบปฏิบัติการ Windows (ซึ่งเป็น graphical user interface สำหรับคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ DOS) X Window System ได้รับการพัฒนาในฐานะเป็นระบบ Cross-platform Window เปิดสำหรับผู้ใช้เครือข่าย ซึ่งยินยอมให้โปรแกรมลูกข่าย ในคอมพิวเตอร์ ส่งคำขอการบริการ Windowing ในฐานะ เวิร์กสเตชัน
Y
Y modem
Ymodem เป็นโปรโตคอลในการแก้ไขข้อผิดพลาดสำหรับโมเด็มที่ใช้กับหน่วยข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ โมเด็มที่ใช้โปรโตคอล Ymodem สำหรับส่งข้อมูลขนาดบล็อกละ 1024 ไบต์ จะไม่รับรู้บล็อกที่ส่งได้สำเร็จ แต่จะรับรู้เฉพาะบล็อกที่มีข้อผิดพลาด ซึ่งบล็อกนี้จะได้รับการส่งใหม่ Ymodem คล้ายกับ Xmodem -1K แต่เพิ่ม batch mode ใน batch mode จำนวนของไฟล์สามารถส่งด้วยคำสั่งเดียว Ymodem มีวิธีป้องกันความผิดพลาดด้วยการใช้ Cyclic Redundancy checking
Z
Zero Insertion force (ZIF)
ZIF (Zero Insertion Force) เป็น socket ที่ใช้ในการเพิ่มความสามารถของ ไมโครโพรเซสเซอร์ ร่น 486 และ Pentium ของ Intel ให้เท่ากับ Pentium II โดยการต่อเชื่อมบนเมนบอร์ดไปยัง bus ของ ข้อมูล ZIF socket ได้รับการออกแบบให้ใช้ได้ง่าย ดังนั้น เจ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยทั่วไปสามารถอัพเกรด ไมโครโพรเซสเซอร์ ได้ โดย ZIFsocket มีตัวยึดที่เปิดและปิดเพื่อยึดติด ไมโครโพรเซสเซอร์ การเชื่อมต่อของ ZIF มี 8 แบบ แต่ละแบบขึ้นกับจำนวน pin และการอิงของ pin ปัจจุบันคือ socket 7 ซึ่งเป็นคอนฟิกที่ใช้กับ ไมโครโพรเซสเซอร์ รุ่น Pentium แต่ Pentium Pro ใช้ socket8 ส่วน Pentium II ซึ่งใช้สถาปัตยกรรมใหม่หรือ P6 ได้เปลี่ยนคอนฟิกเป็นแบบ Slot1 ในคอนฟิกแบบนี้ ไมโครโพรเซสเซอร์ จะอยู่ในแพ็คเกต ที่ยึดด้วยสล๊อต 242-contact หรือ 330-contact บนแผ่นเมนบอร์ด
Socket Pins Layout Process Voltage
0 168 Inline 486DX 5V
1 169 Inline 486DX, SX 5V
2 238 Inline 486DX, SX, DX2 5V
3 237 Inline 486DX, SX, DX4 3V
4 273 Inline Pentium60 หรือ 66 MHz 3V
5 320 staggered Pentium 3V
6 235 Inline 486DX4 3V
7 321 staggered Pentium 3V
8 387 staggered Pentium Pro 3V
algorithm
algorithm หมายถึง ขั้นตอนและสูตรคำนวณในการแก้ปัญหา คำนี้มีรากคำจากชื่อ Al-Khowarizmi (825 ก่อนคริสตกาล) ซึ่งเป็นนักคณิตศาสตร์ชาวเปอร์เซีย และโปรแกรม คอมพิวเตอร์ สามารถมองได้ว่าเป็นการวางอัลกอริทึม ในส่วนคณิตศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ อัลกอริทึม หมายถึงขั้นตอนเล็กๆในการแก้ปัญหา
B
Backup
Backup (การสำรองข้อมูล) เป็นกิจกรรมคัดลอกไฟล์และฐานข้อมูล ดังนั้นพวกเขาจะป้องกันในกรณีของอุปกรณ์ล้มเหลวหรือภัยอื่น โดยทั่วไป การสำรองข้อมูลเป็นงานปกติของปฏิบัติการของข้อมูลขนาดใหญ่กับเครื่องเมนเฟรมและผู้บริหารระบบของคอมพิวเตอร์ธุรกิจขนาดเล็ก สำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล การสำรองข้อมูลมีความจำเป็นเช่นกัน แต่มักถูกละเลย การดึงไฟล์ที่การสำรองไว้ เรียกว่าการฟื้นฟู (restore)
C
chipse
chipset เป็นชุดหรือกลุ่มของไมโครชิป ที่ได้รับการออกแบบให้ทำงานเป็นหน่วย ในการทำงานฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกัน chipset ที่เป็นตัวอย่างได้แก่ Intel 430HX PCI set สำหรับไมโครโพรเซสเซอร์รุ่น Pentium II ในตัว Chipset ได้ให้ตัวควบคุมบัส PCI และออกแบบสำหรับคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ เพื่อการหาค่าเหมาะสม ของการส่งผ่านทรานแซคชัน (transaction) ระหว่างไมโครโพรเซสเซอร์, PCI และ ISA ให้เร็วขึ้น ทำให้ระบบมัลติมีเดียมีการทำงานที่ราบเรียบ รวมถึงการย้อนกลับ และการประยุกต์ นอกจากนี้ chipset สามารถสนับสนุน Universal Serial Bus (USB)
D
digital
digital (ดิจิตอล) การเป็นการอธิบายเทคโนโลยีอีเล็คโทรนิคส์ที่ใช้สร้าง เก็บ และประมวลข้อมูลในลักษณะ 2 สถานะ คือ บวก (positive) และไม่บวก (non-positive) บวก (positive) แสดงด้วย เลข 1 และไม่บวก (non-positive) แสดงด้วย เลข 0 ดังนั้น ข้อมูลส่งผ่าน หรือเก็บด้วยเทคโนโลยีดิจิตอล เป็นการแสดงด้วยข้อความของ 0 และ 1 แต่ละค่าของตำแหน่งสถานะเหล่านี้ เป็นการอ้างแบบ binary digitalก่อนหน้าเทคโนโลยีดิจิตอล การส่งผ่านอีเล็คโทรนิคส์ถูกจำกัดด้วยเทคโนโลยีอะนาล๊อก ซึ่งนำส่งข้อมูลเป็นสัญญาณอีเลคโทรนิคส์ โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงของความถี่ หรือความสูงซึ่งเพิ่มเข้าสู่คลื่นตัวนำที่ให้ความถี่ การส่งผ่านการกระจาย และโทรศัพท์แบบดั้งเดิม ใช้เทคโนโลยีอะนาล็อค เทคโนโลยีดิจิตอล ได้รับการใช้ในตัวกลางการสื่อสารทางกายภาค เช่นการส่งผ่านด้วยดาวเทียม และไฟเบอร์อ๊อปติค โมเด็มใช้ในการแปลงสัญญาณโทรศัพท์ ให้เป็นสารสนเทศดิจิตอล สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์
E
e - mail
e - mail เป็นการแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผ่านระบบโทรคมนาคม ข่าวสารหรือข้อความของ e- mail จะเป็นไฟล์ประเภทข้อความ อย่างไรก็ตามสามารถส่งไฟล์ประเภทอื่น เช่น ไฟล์ประเภทภาพหรือเสียง เป็นไฟล์ที่แนบไปในรหัสแบบ binary โดย e- mail เป็นสิ่งแรกที่ใช้อย่างกว้างขวางในอินเตอร์เน็ต และเป็นสัดส่วนใหญ่ในการใช้ traffic บนอินเตอร์เน็ต e- mail สามารถแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ใช้ของ online service provider กับระบบเครือข่ายอื่น นอกจากนี้ ภายในอินเตอร์เน็ต e- mail เป็นโปรโตคอลแบบหนึ่งที่รวมอยู่ใน Transport Control Protocol/Internet Protocol (TCP/IP) โปรโตคอลที่นิยมสำหรับการส่ง e- mail คือ Simple Mail Transfer Protocol (SMTP) และโปรโตคอล ที่นิยมในการรับ e- mail คือ POP3 ทั้ง Netscape และ Microsoft ได้รวม e- mail และส่วนประกอบการทำงานใน web browser
F
file
1. ในการประมวลผลข้อมูล เมื่อใช้ความหมายเชิงอุปมา file (ไฟล์) เป็นกลุ่มของเรคคอร์ดที่สัมพันธ์กัน เช่น การเก็บเรคคอร์ดของลูกค้าในไฟล์ ในทางกลับกัน แต่ละเรคคอร์ดจะต้องประกอบด้วยฟิลด์ สำหรับข้อมูลแต่ละชิ้น เช่น ชื่อลูกค้า หมายเลขลูกค้า ที่อยู่ลูกค้า และอื่น ๆ โดยการแบ่งสารสนเทศในฟิลด์เดียวกันในแต่ละเรคคอร์ด (ทำให้เรคคอร์ดทั้งหมดตรงกัน) ไฟล์นี้จะสะดวกในการนำไปวิเคราะห์ หรือควบคุมด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การใช้งานแบบนี้มีความสำคัญน้อยลง จากการเข้ามาถึง database และการใช้ table เป็นวิธีการรวบรวมเรคคอร์ดและฟิลด์ข้อมูล ในระบบเมนเฟรม เป็นความหมายของ data set ในความหมายเดียวกับไฟล์ แต่มีนัยยะหมายถึง รูปแบบพิเศษของการจัดโครงสร้างที่ตระหนักกึงวิธีการเข้า (access method) แบบเฉพาะการจัดเก็บไฟล์ (หรือ data set ) ขึ้นกับระบบปฏิบัติการโดยการเก็บใน catalogs, directories หรือ folders
2. ในระบบคอมพิวเตอร์ทั่วไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ไฟล์เป็นที่เก็บข้อมูลในระบบของผู้ใช้ (รวมตัวระบบเองและโปรแกรมประยุกต์ ) ที่สามารถควบคุม ( เช่น ย้ายจากไดเรคทอรีหนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง) ไฟล์จะต้องมีชื่อที่เป็นเอกลักษณ์ ภายในไดเรคทอรีของตัวเอง บางระบบปฏิบัติการและโปรแกรมประยุกต์ ให้คำจำกัดความไฟล์ว่า เป็นการกำหนดรูปแบบด้วยการกำหนดนามสุกลไฟล์เฉพาะ (หรือเรียกว่า file extension ) เช่น โปรแกรม หรือexecutable file บางครั้งได้รับหรือต้องการชื่อนามสกุลเป็น "exe" โดยทั่วไปนามสกุลไฟล์ เป็นการอธิบายถึงรูปแบบตามที่สามารถกำหนดภายในความจำกัดของตัวอักษรที่ยินยอม สำหรับนามสกุลโดยระบบปฏิบัติการ
G
Ghost
มีที่มาจากคำอังกฤษ เก่า "gast" และมีความหมายวิญญาณหรือผี ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีความหมายเฉพาะ คือ
1. Ghost เป็นสินค้าของ Symantec ใช้การโคลน (Clone) หรือก๊อปปี้ข้อมูลและรายละเอียดในฮาร์ดดิสก์ไปยังฮาร์ดดิสก์ตัวอื่น จะทำการ Format และสร้าง partition ในฮาร์ดดิสก์เป้าหมาย สินค้าตัวนี้เหมาะสมในการใช้งานในการถ่ายเทระบบจากต้นแบบ ไปยังคอมพิวเตอร์จำนวนหลาย ๆ เครื่อง
2. บนเว็บประเภท live chat medium นั้น Internet relay chat เป็น ghost ที่ทำให้เครื่องแม่ข่ายผู้ใช้ถอนตัวจากห้องนั้นยังติดต่อกับเครื่องแม่ข่าย
3. Ghostscript เป็นโปรแกรมของระบบ UNIX ที่แปลไฟล์แบบ Postscript เพื่อนำไปใช้กับโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง
H
home page
1. สำหรับผู้ใช้เว็บ home page คือ เว็บเพจแรกที่ปรากฏหลังจากเริ่มใช้ web browser เช่น Netscape Navigator หรือ Microsoft Internet Explorer ซึ่ง browser มักจะได้รับการตั้งค่าก่อน ดังนั้น home page คือ เพจแรกของผู้ผลิต browser อย่างไรก็ตามผู้ใช้สามรถตั้งค่าการเปิด web site อื่น ๆ ได้ เช่น การระบุเป็น "http://yahoo.com" หรือ "http://www.widebase.net" เป็น home page ของผู้ใช้ และสามารถระบุเป็นหน้าว่างได้ สำหรับกรณีที่เลือกเพจแรกจาก รายการ book mark หรือ ป้อน address ของเว็บ
2. สำหรับผู้พัฒนา web site, home page ซึ่งเป็นเพจแรกที่ปรากฏเมื่อผู้ใช้เลือก site หรือ presence บน world wide web ซึ่ง address ของ web site คือ address ของ home page ถึงแม้ว่าผู้ใช้สามรถป้อน address (URL) ของทุกเพจ และมีการส่งเพจมาให้
I
information
information (สารสนเทศ) มีความหมายในด้านเนื้อหาสำหรับผู้รับ information บางชนิดสามารถแปลงเป็นข้อมูล (data) และส่งต่อไปยังผู้รับอื่น เมื่อสัมพันธ์กับคอมพิวเตอร์ information จะไดรับการสร้างเป็นข้อมูลและเก็บในคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นที่ใช้ในการเก็บและประมวลผลในฐานะข้อมูล และแสดงผลลัพธ์ของข้อมูลในรูปแบบที่มีเป็นฐานะสารสนเทศ หรือ information
j
JavaScript
JavaScript เป็นโปรแกรมประเภทตัวแปรภาษาหรือภาษาแบบ script จาก Netscape มีลักษณะคล้ายกับภาษา Visual Basic Microsoft, Tool command language ของ Sun, Practical Extraction and Reporting Language บน UNIX และ Restructured Extended Executer ของ IBM โดยทั่วไปแล้วภาษา script ง่ายกว่าภาษาแบบคอมไพล์ เช่น C และ C++ นอกจากนี้ภาษา script จะมีขั้นตอนที่ยาวกว่าภายนอกแบบคอมไพล์ แต่ใช้ประโยชน์ได้มากในโปรแกรมสั้น ๆ
JavaScript สามารถใช้ในการพัฒนาเว็บในลักษณะนี้
- เปลี่ยนรูปแบบวันที่ บนเว็บเพจ โดยอัตโนมัติ
- ใช้แสดงเพจเชื่อมใน Popup Windows
- เปลี่ยนข้อความหรือภาพระหว่างที่เมาส์เคลื่อนผ่าน
JavaScript ใช้แนวคิดของ Java โดย JavaScript สามารถวางในเพจที่เขียนด้วย HTML และแปรโดย web browser ได้ JavaScript สามารถเรียกใช้ที่เครื่องแม่ข่ายเหมือน Microsoft Active server page ก่อนที่เพจนั้นจะได้รับการส่งไปยังผู้ใช้ web browser ของ Microsoft และ Netscape สนับสนุน JavaScript แต่บางครั้งมีความแตกต่างกัน
K
keyboard
คอมพิวเตอร์ส่วนมาก keyboard (คีย์บอร์ด) เป็นอุปกรณ์นำเข้าข้อความ (เมาส์ เป็นอุปกรณ์นำเข้า แต่ขาดความสามารถส่งผ่านสารสนเทศข้อความได้ง่าย ) คีย์บอร์ดมีแป้นฟังก์ชั่นมาตรฐาน เช่น Escape, Tab และแป้นเคลื่อนที่ Shift และ Control บางครั้งผู้ผลิตอาจจะปรับปรุงแป้นตามความเหมาะสม
คีย์บอร์ดของคอมพิวเตอร์ ใช้การจัดแป้นแบบกลไกและอีเลคโทรนิคส์ มาตรฐาน การจัดตัวอักษรบนแป้น เรียกว่า Qwerty keyboard มีที่มาจากการจัด 5 แป้นที่ด้านบนซ้ายของ 3 แถว ของแป้นพยัญชนะ การคิดค้นนี้เกิดขึ้นจากเครื่องพิมพ์แบบ
กลไกยุคแรกในช่วงปี 1870 การจัดแป้นพิมพ์อีกแบบ คือ Dvorak system ซึ่งออกแบบให้ง่ายในการเรียน และใช้ Dvorak keyboard ได้รับการออกแบบมีการจัดที่สอดคล้องกัน แต่ Dvorak key board ไม่มีการใช้ที่แพร่หลาย เนื่องจากผลต่อสุขภาพจากใช้คีย์บอร์ด ทำให้มีการพัฒนาคีย์บอร์ดแบบ ergonomic
L
LAN
Local area network (LAN) เป็นกลุ่มของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้สายติดต่อร่วมกัน เพื่อใช้ทรัพยากรของเครื่องแม่ข่ายร่วมกันภายในพื้นที่ขนาดเล็ก โดยปกติเครื่องแม่ข่ายจะเก็บข้อมูล และโปรแกรมประยุกต์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ลูกข่ายสามารถเข้ามาใช้ได้ ขนาดของ LAN อาจจะประกอบผู้ใช้ 2-3 ราย หรือหลายพันราย
เทคโนโลยีหลัก
- Ethernet
- Token ring
- Attached Resource Computer Network
- Fiber Distributed-Data Interface
ตามปกติ ชุดของโปรแกรมประยุกต์สามารถเก็บไว้ในเครื่องแม่ข่าย ผู้ใช้สามารถเข้าเรียกมาใช้ข้อมูล และโปรแกรมโดยทำงานจากเครื่องลูกข่ายได้ ในขณะที่การสั่งพิมพ์และบริการอื่นเป็นการทำงานที่เครื่องแม่ข่าย การใช้ไฟล์ร่วมกับผู้ใช้รายอื่นบนเครื่องแม่ข่าย ต้องมีการกำหนดสิทธิโดยผู้บริหารระบบ
เครื่องแม่ข่ายของ สามารถใช้ Web server ได้ถ้ามีระบบป้องกันข้อมูล และโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ภายในจากการเข้าถึงของบุคคลภายนอก
M
microchip
microchip (ไมโครชิป) บางครั้งเรียก chip เป็นหน่วยของชุดวงจรรวมของคอมพิวเตอร์ที่ได้รับการผลิตจากวัสดุ เช่น ซิลิคอน ที่ขนาดเล็กมาก ไมโครชิป สร้างสำหรับโปรแกรม logic (logic หรือ microprocessor chip) และสำหรับหน่วยความจำคอมพิวเตอร์ (ชิปหน่วยความจำ หรือ RAM) ไมโครชิปมีการสร้างทั้งแบบ logic และหน่วยความจำและสำหรับวัตถุประสงค์เฉพาะ เช่น analog-to-digital conversion, bit - slicing และ gateways
N
network
ในเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบเครือข่ายหมายถึงอนุกรมของจุดหรือ Mode ที่ติดต่อกันโดยเส้นทางการสื่อสาร และระบบเครือข่ายสามารถติดต่อกับเครือข่ายอื่นและมีเครือข่ายย่อย การคอนฟิกโดยทั่วไป หรือ Topology ของเครือข่ายรวมถึง Bus, star, และ Token ring โดยระบบเครือข่ายสามารถจำแนกตามระยะทาง เช่น เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network) เครือข่ายในเมือง (Metropolitan Area Network) และเครือข่ายพื้นที่กว้าง (Wide Area Network) นอกจากระบบเครือข่ายสามารถจากคุณลักษณะตามประเภทของเทคโนโลยีในการส่งข้อมูล (เช่น TCP/IP), โดยประเภทข้อมูลที่ส่ง เช่น เสียง ข้อมูล โดยสิทธิการใช้เครือข่าย (เช่น สาธารณะหรือส่วนตัว) โดยวิธีการติดต่อระบบ, โดยประเภทอุปกรณ์การเชื่อม เช่น Optical Fiber, สาย Coaxial เป็นต้น
O
object
ใน object-oriented programmable (OOP), object เป็นสิ่งที่ต้องการคิดถึงเป็นสิ่งแรก ในการออกแบบโปรแกรม และเป็นหน่วยของรหัสที่มาจากกระบวนการ ในแต่ละอ๊อบเจคที่สร้างใน class ของอ๊อบเจค และ class ได้รับการกำหนด ดังนั้น อ๊อบเจคสามารถแบ่งแบบจำลองและใช้ class definition ใหม่ในชุดคำสั่ง แต่ละอ๊อบเจคเป็น instance ของ class หรือ sub class ด้วยเมธอดของ class หรือ procdure และตัวแปร อ๊อบเจคเป็นสิ่งที่ทำงานในคอมพิวเตอร์
P
partition
ในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล partition เป็นการแบ่งทางตรรกะของฮาร์ดดิสก์ เพื่อทำให้ผู้ใช้สามารถ มีหลายระบบปฏิบัติการ บนฮาร์ดดิสก์เดียวกัน หรือการแบ่งฮาร์ดดิสก์ สำหรับการบริหารไฟล์ ผู้ใช้หลายคนหรือวัตถุประสงค์ partition สร้างได้เมื่อมีการฟอร์แมต (format) ฮาร์ดดิสก์ ตามปกติฮาร์ดดิสก์ 1 partition จะมีชื่อไดร์ฟเป็น "C:"("A:" และ "B:" ตามปกติสำรองสำหรับไดร์ฟดิสเกต) ฮาร์ดดิสก์ 2 partition จะมีชื่อไดร์ฟ เป็น "C:" และ "D:" (ไดร์ฟ CD-ROM ตามปกติจะได้รับการกำหนดเป็นตัวอักษรสุดท้าย ของชุดตัวอักษรที่ใช้เป็นชื่อจากการฟอร์แมตฮาร์ดดิสก์ หรือกรณีมี 2 partition ไดร์ฟ CD-ROM จะมีชื่อไดร์ฟเป็น "E:")
เมื่อมีการบู๊ตระบบปฏิบัติการเข้าไปในคอมพิวเตอร์ ส่วนที่สำคัญมากของกระบวนการ คือ การควบคุม sector แรกของฮาร์ดดิสก์ ซึ่งรวมถึงตาราง partition, ที่กำหนดจำนวน partition บนฮาร์ดดิสก์, ขนาดของแต่ละ partition, ตำแหน่งเริ่มต้นของ partition sector นี้ยังเก็บโปรแกรมที่อ่าน boot sector สำหรับปฏิบัติการและควบคุมส่วนที่เหลือของระบบปฏิบัติการที่สามารถโหลดไปที่หน่วยความจำชั่วคราว
บู๊ตไวรัส สามารถวางสารสนเทศที่ผิดใน sector ของ partition ทำให้ระบบปฏิบัติการ ไม่สามารถโหลดบนฮาร์ดดิสก์ ด้วยเหตุนี้ ควรที่จะสำรองเวอร์ชัน sector ของ partition บนฮาร์ดดิสก์ที่เรียกว่า แผ่นบู๊ต (bootable floppy)
Q
query
ในความหมายทั่วไป Query หมายถึง คำถามมักจะเป็นการใช้ในลักษณะที่เป็นทางการ ที่มาของคำนี้มาจากภาษาละติน "Quaere" ในด้านคอมพิวเตอร์ หมายถึง สิ่งที่ผู้ใช้ป้อนเข้าในเครื่องมือ ค้นหา (Search engine) หรือฐานข้อมูล บางครั้งเรียกว่า Query
Database Query สามารถหมายถึง select query หรือ action query โดย select query หมายถึง คิวรี่ในการดึงข้อมูล ส่วน action query หมายถึง คิวรี่ ที่สามารถทำงานได้เช่น การเพิ่ม การปรับปรุงหรือการลบ
ภาษาที่ใช้ในการติดต่อกับฐานข้อมูลเรียกว่า Query Language รวมถึง Structured Query Language ซึ่งเป็นภาษามาตรฐาน
R
registry
1) ในระบบปฏิบัติของ Microsoft Windows 95, Windows 98 และ Windows NT, Registry เป็นสถานที่เดียวสำหรับเก็บสารสนเทศ เช่น ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อ ตัวเลือกของระบบที่มีการเลือก การตั้งค่าหน่วยความจำ และโปรแกรมประยุกต์ที่จะนำเสนอเมื่อระบบปฏิบัติการเริ่มทำงาน Registry คล้ายและแทนที่ไฟล์ INI และไฟล์คอนฟิก ที่ใช้กับระบบ Windows ก่อนหน้านี้ ซึ่งไฟล์ INI ยังคงได้รับการสนับสนุนในการทำงานโปรแกรมประยุกต์ 16 บิต
โดยทั่วไป ผู้ใช้สามารถปรับปรุง Registry โดยอ้อม โดยใช้เครื่องมือบน Control Panel เช่น TweakU1 ในการติดตั้งหรือยกเลิกการติดตั้งโปรแกรมประยุกต์ ซึ่งยังคงมีการปรับปรุงค่าที่ Registry ในระบบเครือข่าย สารสนเทศของ Registry สามารถเดินบนเครื่องแม่ข่าย เพื่อใช้นโยบายของระบบในการบริหารจากส่วนกลาง
2) Internet Registry เป็นการจัดการเกี่ยวกับระบบชื่อ Domain (domain name system) ซึ่งดูแลโดย Internet Society
S
screen
ในจอภาพของคอมพิวเตอร์ Screen เป็นพื้นผิวทางกายภาพที่ใช้แสดงสารสนเทศที่มองเห็นได้ พื้นผิวนี้มักจะทำด้วยแก้ว ขนาดของจอภาพสามารถวัดที่ด้านทแยงมุม
T
Tag
Tag เป็นคำทั่วไปสำหรับภาษาแบบ element descriptor กลุ่มของ Tag สำหรับเอกสาร หรือหน่วย ของสารสนเทศในบางครั้ง อ้างถึง markup คำสั่งนี้ในยุคก่อนการใช้คอมพิวเตอร์ เมื่อผู้เขียนและผู้ตรวจทาน ทำเครื่องหมายบนเอกสารด้วยสัญลักษณ์ ตัวอย่างเช่น การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Hypertext Markup Language (HTML)
U
unicast
unicast เป็นการสื่อสารระหว่างผู้ส่งรายเดียว กับผู้รับรายเดียวบนเครือข่าย คำนี้แตกต่างจาก multicast ซึ่งเป็นการสื่อสารระหว่างผู้ส่งรายเดียว กับผู้รับหลายราย และ anycast ซึ่งเป็นการสื่อสารระหว่างผู้ส่งหลายราย กับกลุ่มของผู้รับที่ใกล้ที่สุดในเครือข่าย คำก่อนหน้า คือ การสื่อสารแบบ Point-to-Point มีความหมายคล้ายกับ unicast สำหรับ Internet Protocol Version 6 (IPv6) สนับสนุน unicast, anycast และ multicast
V
vanilla
ในเทคโนโลยีที่สารสนเทศ Vanilla มีความหมายว่าง่ายหรือพื้นฐาน ผลิตภัณฑ์ในเวอร์ชันที่ไม่มีส่วนประกอบมักจะเรียกว่า เวอร์ชัน Vanilla เช่น web site บางแห่งที่มีแต่กรอบสามารถเรียกว่า เวอร์ชัน Vanilla
W
Window
Window เป็นพื้นที่การมองที่แยกกันบนจอภาพคอมพิวเตอร์ในระบบ ที่ยอมให้มีพื้นที่การมองหลายพื้นที่ ในฐานที่เป็นส่วนของ graphical user interface (GUI) Windows ได้รับการจัดการโดย window manager ในฐานะที่เป็นส่วนของระบบ Windows
Windows สามารถปรับขนาดได้โดยผู้ใช้ ตัวอย่างเช่น สามารถปรับขอบ ขยายใหญ่ ลดขนาดและปิด ปัจจุบันระบบปฏิบัติการ multitasking ให้ผู้ใช้สามารถมีหลาย Windows บนจอภาพในเวลาเดียวกัน และทำงานเมื่อผู้ใช้เลือก
Windows ใช้ครั้งแรกในฐานะที่เป็นส่วนของ Apple Macintosh ต่อมา Microsoft สร้างความคิดพื้นฐาน ของระบบปฏิบัติการ Windows (ซึ่งเป็น graphical user interface สำหรับคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ DOS) X Window System ได้รับการพัฒนาในฐานะเป็นระบบ Cross-platform Window เปิดสำหรับผู้ใช้เครือข่าย ซึ่งยินยอมให้โปรแกรมลูกข่าย ในคอมพิวเตอร์ ส่งคำขอการบริการ Windowing ในฐานะ เวิร์กสเตชัน
X
XWindow
XWindow เป็นพื้นที่การมองที่แยกกันบนจอภาพคอมพิวเตอร์ในระบบ ที่ยอมให้มีพื้นที่การมองหลายพื้นที่ ในฐานที่เป็นส่วนของ graphical user interface (GUI) Windows ได้รับการจัดการโดย window manager ในฐานะที่เป็นส่วนของระบบ Windows
Windows สามารถปรับขนาดได้โดยผู้ใช้ ตัวอย่างเช่น สามารถปรับขอบ ขยายใหญ่ ลดขนาดและปิด ปัจจุบันระบบปฏิบัติการ multitasking ให้ผู้ใช้สามารถมีหลาย Windows บนจอภาพในเวลาเดียวกัน และทำงานเมื่อผู้ใช้เลือก
Windows ใช้ครั้งแรกในฐานะที่เป็นส่วนของ Apple Macintosh ต่อมา Microsoft สร้างความคิดพื้นฐาน ของระบบปฏิบัติการ Windows (ซึ่งเป็น graphical user interface สำหรับคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ DOS) X Window System ได้รับการพัฒนาในฐานะเป็นระบบ Cross-platform Window เปิดสำหรับผู้ใช้เครือข่าย ซึ่งยินยอมให้โปรแกรมลูกข่าย ในคอมพิวเตอร์ ส่งคำขอการบริการ Windowing ในฐานะ เวิร์กสเตชัน
Y
Y modem
Ymodem เป็นโปรโตคอลในการแก้ไขข้อผิดพลาดสำหรับโมเด็มที่ใช้กับหน่วยข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ โมเด็มที่ใช้โปรโตคอล Ymodem สำหรับส่งข้อมูลขนาดบล็อกละ 1024 ไบต์ จะไม่รับรู้บล็อกที่ส่งได้สำเร็จ แต่จะรับรู้เฉพาะบล็อกที่มีข้อผิดพลาด ซึ่งบล็อกนี้จะได้รับการส่งใหม่ Ymodem คล้ายกับ Xmodem -1K แต่เพิ่ม batch mode ใน batch mode จำนวนของไฟล์สามารถส่งด้วยคำสั่งเดียว Ymodem มีวิธีป้องกันความผิดพลาดด้วยการใช้ Cyclic Redundancy checking
Z
Zero Insertion force (ZIF)
ZIF (Zero Insertion Force) เป็น socket ที่ใช้ในการเพิ่มความสามารถของ ไมโครโพรเซสเซอร์ ร่น 486 และ Pentium ของ Intel ให้เท่ากับ Pentium II โดยการต่อเชื่อมบนเมนบอร์ดไปยัง bus ของ ข้อมูล ZIF socket ได้รับการออกแบบให้ใช้ได้ง่าย ดังนั้น เจ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยทั่วไปสามารถอัพเกรด ไมโครโพรเซสเซอร์ ได้ โดย ZIFsocket มีตัวยึดที่เปิดและปิดเพื่อยึดติด ไมโครโพรเซสเซอร์ การเชื่อมต่อของ ZIF มี 8 แบบ แต่ละแบบขึ้นกับจำนวน pin และการอิงของ pin ปัจจุบันคือ socket 7 ซึ่งเป็นคอนฟิกที่ใช้กับ ไมโครโพรเซสเซอร์ รุ่น Pentium แต่ Pentium Pro ใช้ socket8 ส่วน Pentium II ซึ่งใช้สถาปัตยกรรมใหม่หรือ P6 ได้เปลี่ยนคอนฟิกเป็นแบบ Slot1 ในคอนฟิกแบบนี้ ไมโครโพรเซสเซอร์ จะอยู่ในแพ็คเกต ที่ยึดด้วยสล๊อต 242-contact หรือ 330-contact บนแผ่นเมนบอร์ด
Socket Pins Layout Process Voltage
0 168 Inline 486DX 5V
1 169 Inline 486DX, SX 5V
2 238 Inline 486DX, SX, DX2 5V
3 237 Inline 486DX, SX, DX4 3V
4 273 Inline Pentium60 หรือ 66 MHz 3V
5 320 staggered Pentium 3V
6 235 Inline 486DX4 3V
7 321 staggered Pentium 3V
8 387 staggered Pentium Pro 3V
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)